ศูนย์ปฏิบัติการวิจัยและเรือนปลูกพืชทดลอง
Central Laboratory and Greenhouse Complex
หน้าแรก
ข้อมูลทั่วไป
ประวัติ
โครงสร้างการบริหาร
ผู้บริหาร
บุคลากร
วีดิทัศน์แนะนำศูนย์ฯ
หน่วยงาน
หน่วยบริหารและธุรการ
หน่วยวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อมและเทคโนโลยี
หน่วยการใช้ประโยชน์จากผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ
หน่วยจุลชีววิทยาประยุกต์
หน่วยวิเคราะห์ วิจัยพฤกษเคมี
หน่วยอนุรักษ์และพัฒนาทรัพยากรชีวภาพ
หน่วยวิจัยโรคพืชและศาสตร์สัมพันธ์
หน่วยทรัพยากรชีวภาพด้านแมลง
หน่วยวิเคราะห์ วิจัยดิน พืช และวัสดุเกษตร
หน่วยเทคโนโลยีเมล็ดพันธุ์และปรับปรุงพันธุ์พืช
หน่วยเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช
หน่วยอนุรักษ์และใช้ประโยชน์พืชพรรณ
หน่วยพัฒนาอุปกรณ์และอาคารสถานที่
งานวิจัย
งานวิจัยศูนย์ปฏิบัติการวิจัย
รางวัล
โปสเตอร์งานวิจัย
ข้อมูลการตีพิมพ์วารสาร
จรรยาวิชาชีพวิจัยและแนวทางปฏิบัติ
ทรัพยากรพืชพรรณฯ
สมุนไพร
ไม้หอมเดิม
ไม้หอมใหม่
นานาสาระไม้หอม
ไม้ดอกไม้ประดับ
ไม้ผล
วัชพืช
วีดิทัศน์แนะนำพันธุ์ไม้
ต้นไม้ทรงปลูก
วารสารข่าวศูนย์ฯ
ดาวน์โหลด
ติดต่อเรา
งานวิจัย
งานวิจัยศูนย์ปฏิบัติการวิจัยฯ
รางวัล
โปสเตอร์งานวิจัย
ข้อมูลการตีพิมพ์วารสาร
จรรยาวิชาชีพวิจัย/แนวทางปฏิบัติ
พิธีลงนามอนุญาตให้ใช้สิทธิผลงานวิจัย เรื่อง กรรมวิธีการผลิตผงมะพร้าวน้ำหอม
การพัฒนาเชื้อนิวคลีโอโพลีฮีโดรไวรัสเพื่อใช้ในการกำจัดหนอเจาะสมอฝ้าย
ผู้วิจัย
สุดาวรรณ เชยชมศรี และคณะ
ศูนย์ปฏิบัติการวิจัยและเรือนปลูกพืชทดลอง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน จ. นครปฐม
บทนำ
หนอนเจาะสมอฝ้าย (
Helicoverpa armigera
) เป็นศัตรูสำคัญของพืชผักหลายชนิด เช่น ฝ้าย ยาสูบ พริก พืชวงศ์ถั่ว หน่อไม้ฝรั่ง องุ่น กระเจี๊ยบเขียว และมะเขือเทศ เป็นต้น การใช้สารเคมีฆ่าแมลงอย่างต่อเนื่องทำให้หนอนเจาะสมอฝ้ายสร้างความต้านทานต่อสารเคมีอย่างรวดเร็ว และสารเคมีฆ่าแมลงยังก่อให้เกิดอันตรายต่อสิ่งมีชีวิตอื่นๆ รวมทั้งแมลงที่มีประโยชน์ เกษตรกรผู้ใช้สารเคมีและผู้บริโภคผลิตผลทางการเกษตรนั้นๆ ด้วย ดังนั้น ควรพิจารณาวิธีอื่นที่เหมาะสมกว่าการใช้สารเคมีในการกำจัดแมลงชนิดนี้ การใช้เชื้อนิวคลีโอโพลีฮีโดรไวรัส (nucleopolyhedrovirus) หรือเชื้อเอ็นพีวี (NPV) จึงเป็นทางเลือกหนึ่งที่มีประสิทธิภาพสูงในการกำจัดหนอนเจาะสมอฝ้าย และเหมาะกับการปลูกพืชแบบเกษตรอินทรีย์ เพราะเชื้อเอ็นพีวีเพิ่มปริมาณในเซลล์ของแมลงอาศัยเท่านั้น โดยหนอนกินผลึกโปรตีนของไวรัสที่ติดอยู่บนใบพืชเข้าไป อนุภาคไวรัสเข้าทำลายเซลล์กระเพาะอาหารและเซลล์ชนิดอื่นๆ ของหนอน และระยะสุดท้ายของการทำลายของไวรัสคือทำให้หนอนตาย
แหล่งเผยแพร่
จดหมายข่าว วช. ปีที่ 6 ฉบับที่ 35 ประจำเดือน มิถุนายน - กรกฎาคม 2554
หน้าแรก
|
งานวิจัย
Top