ผลิตภัณฑ์จากงานวิจัย |
|
|
|
|
|
|
โปสเตอร์งานวิจัย |
|
|
หน่วยเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช
(Plant Tissue Culture Unit)
|
งานวิจัย: ด้านการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช การปรับปรุงพันธุ์พืช และการรวบรวมพันธุ์พืชชนิดต่างๆ |
|
|
|
งานบริการวิชาการ: ให้บริการด้านการขยายพันธุ์พืชเศรษฐกิจ พืชไร่ พืชสวน ไม้ดอกไม้ประดับ และพืชสมุนไพร เช่น กล้วย หน่อไม้ฝรั่ง อ้อย มะละกอ หน้าวัว กล้วยไม้ อโกลนีมา บัวดิน ฯลฯ ให้แก่โครงการวิจัยและภาคเอกชนที่สนใจ |
|
|
|
งานฝึกอบรม/ถ่ายทอดเทคโนโลยี: การฝึกอบรมเทคนิคพื้นฐานและขั้นสูงเกี่ยวกับการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืชเป็นประจำทุกปี |
|
|
บุคลากร
|
นางรงรอง หอมหวล (Mrs. Rongrong Homhual) |
ประวัติการศึกษา: |
วท.บ. (ศึกษา-เกษตร) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วท.ม. (เกษตรศาสตร์) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ Ph.D. (Plant Biotechnology) Chiba University, Japan |
ตำแหน่ง: |
นักวิจัยชำนาญการพิเศษ |
สาขาที่เชี่ยวชาญ: |
Tissue culture and biotechnology application for crop improvement such as: |
|
1. |
Tissue culture of economic plants: sugarcane, banana, jackfruit, orchid, rose, Chrysanthemum, etc. and some medicinal plants |
|
2. |
Cell suspension culture |
|
3. |
Protoplast culture |
|
4. |
Gene transfer by Agrobacterium spp. |
E-mail: |
rdirov@ku.ac.th |
|
นางมณฑา วงศ์มณีโรจน์ (Mrs. Monthar Wongmaneeroj) |
ประวัติการศึกษา: |
วท.บ. (เกษตรศาสตร์) วิชาเอก ปฐพีวิทยา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วท.ม. (เกษตรศาสตร์) วิชาเอก ปฐพีวิทยา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ |
ตำแหน่ง: |
นักวิจัยชำนาญการพิเศษ |
สาขาที่เชี่ยวชาญ: |
1. |
Tissue culture of ornamental plants, jackfruit, mango, asparagus, etc |
|
2. |
In vitro germplasm preservation of plant |
E-mail: |
rdimow@ku.ac.th |
|
นางสาวสุลักษณ์ แจ่มจำรัส (Ms. Surak Jamjumrus) |
ประวัติการศึกษา: |
วท.บ. (เทคโนโลยีการเกษตร) มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม วท.ม. (วิจัยและพัฒนาการเกษตร) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ |
ตำแหน่ง: |
เจ้าหน้าที่วิจัยชำนาญการ |
สาขาที่เชี่ยวชาญ: |
การขยายพันธุ์ไม้ดอกไม้ประดับด้วยเทคนิคการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ เช่น กล้วยไม้ หน่อไม้ฝรั่ง ขิง ยูคาลิปตัส มะละกอ และสมุนไพรไทย |
E-mail: |
rdisrj@ku.ac.th |
|
นางแสงเพียร น้อยปุก (Mrs. Saengpean Noeypook) |
ประวัติการศึกษา: |
มัธยมศึกษาปีที่ 3 |
ตำแหน่ง: |
พนักงานห้องปฏิบัติการ |
สาขาที่เชี่ยวชาญ: |
การเตรียมอาหารเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช การเตรียมวัสดุอุปกรณ์ในห้องปฏิบัติการ การเปลี่ยนย้ายเนื้อเยื่อพืช |
|
|
ผลงานวิชาการปัจจุบันย้อนหลังถึงปี พ.ศ. 2549
ผลงานวิจัยตีพิมพ์ในวารสาร |
มณฑา วงศ์มณีโรจน์, รงรอง หอมหวล, ศิริวรรณ บุรีคำ และ สุรัตน์วดี จิวะจินดา. 2551. การเพิ่มประสิทธิภาพการชักนำรากหนอนตายหยาก (Stemona colinsae Craib) ในสภาพปลอดเชื้อและการนำต้นออกปลูก. วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก 6(1): 65-71. |
รงรอง หอมหวล, สุลักษณ์ แจ่มจำรัส, มณฑา วงศ์มณีโรจน์, รัตนา เอการัมย์, พีรพงษ์ แสงวนางค์กูล, ชูศักดิ์ คุณุไทย และ สนธิชัย จันทร์เปรม. 2558. ผลของไคโตซาน และไธไดอะซูรอนในการเพาะเลี้ยงข้าวขาวดอกมะลิ 105 เพื่อสร้างสารสำคัญทางโภชนาการ. วารสารวิทยาศาสตร์เกษตร 46(1): 7-18. |
รงรอง หอมหวล, มณฑา วงศ์มณีโรจน์, สุลักษณ์ แจ่มจำรัส, กมลศรี สระทองพรม, และ รัตนา เอการัมย์. 2556. ผลของสารเร่งการเจริญเติบโตและไคโตซานในการขยายพันธุ์อโกลนีมาโดยวิธีเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ. วารสารวิทยาศาสตร์เกษตร. 44(3): 297-307. |
รงรอง หอมหวล, สุภาพร กลิ่นคง, เรวัติ เลิศฤทัยโยธิน, กมลศรี สระทองพรม และ รัตนา เอการัมย์. 2550. การเพาะเลี้ยงปลายยอดอ้อยปลอดโรคและการศึกษาต้นทุนการผลิตในห้องปฏิบัติการ. วิทยาสารกำแพงแสน. 4(พิเศษ): 144-153. |
รงรอง หอมหวล, สุภาพร กลิ่นคง, เรวัติ เลิศฤทัยโยธิน, กมลศรี สระทองพรม และ รัตนา เอการัมย์. 2549. การพัฒนาสูตรอาหารและเทคนิคการย้ายปลูกสำหรับการผลิตต้นกล้าอ้อยปลอดโรค. วิทยาสารกำแพงแสน. 4(พิเศษ): 637-644. |
ศิริวรรณ บุรีคำ, มณฑา วงศ์มณีโรจน์ และ สุลักษณ์ แจ่มจำรัส. 2551. การชักนำให้เกิดแคลลัสชนิดเอ็มบริโอจีนิคเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของการเพิ่มปริมาณต้นหน่อไม้ฝรั่ง. วารสารวิทยาศาสตร์เกษตร 39(พิเศษ): 420-423. |
ศิริวรรณ บุรีคำ, สุลักษณ์ แจ่มจำรัส และ มณฑา วงศ์มณีโรจน์. 2551. ผลของอุณหภูมิต่อการเกิดโซมาติกเอ็มบริโอเจนเนซีส จากการเพาะเลี้ยงอับละอองเกสรตัวผู้ของหน่อไม้ฝรั่ง. วารสารวิทยาศาสตร์เกษตร 39(พิเศษ): 424-427. |
ผลงานวิจัยตีพิมพ์ในเอกสารประชุมวิชาการ |
มณฑา วงศ์มณีโรจน์, รงรอง หอมหวล และ สุลักษณ์ แจ่มจำรัส. 2554. การผลิตต้นกล้าเร่วหอมจากการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ, หน้า 235. ใน การประชุมวิชาการพืชสวนแห่งชาติ ครั้งที่ 10. 18-20 พฤษภาคม 2554. กรุงเทพฯ |
รงรอง หอมหวล, เรวัติ เลิศฤทัยโยธิน, สุลักษณ์ แจ่มจำรัส, รัตนา เอการัมย์ และ สนธิชัย จันทร์เปรม. 2557. การคัดเลือกอ้อยทนต่อสภาวะขาดน้ำโดยใช้สาร mannitol ในสภาพปลอดเชื้อ, หน้า 183-184. ใน การประชุมวิชาการมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ครั้งที่ 11. 8-9 ธันวาคม 2557. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน, จ. นครปฐม. |
รงรอง หอมหวล, มณฑา วงศ์มณีโรจน์, เนตรชนก เกียรติ์นนทพัทธ์, สุลักษณ์ แจ่มจำรัส, รัตนา เอการัมย์, พีรพงษ์ แสงวนางค์กูล, ชูศักดิ์ คุณุไทย, และ ชวนพิศ อรุณรังสิกุล. 2555. การใช้สารไคโตซานร่วมกับสารเร่งการเจริญเติบโตเพิ่มประสิทธิการสร้างสาระสำคัญทางโภชนาการในการเพาะเลี้ยงข้าวหอมมะลิ, หน้า 146-147 ใน การประชุมสัมมนาทางวิชาการมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก ครั้งที่ 5. 14-16 พฤษภาคม 2555. จ. ชลบุรี. |
รงรอง หอมหวล, เรวัติ เลิศฤทัยโยทิน, รัตนา เอการัมย์ และ ชัยณรงค์ รัตนกรีฑากุล. 2553. การคัดเลือกแคลลัสอ้อยทนแล้งโดยใช้สาร polyethylene glycol ในสภาพปลอดเชื้อ, หน้า 423-424. ใน การประชุมวิชาการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ครั้งที่ 7. 7-8 ธันวาคม 2553. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน จ. นครปฐม. |
สุลักษณ์ แจ่มจำรัส, รัตนา เอการัมย์, มณฑา วงศ์มณีโรจน์, รงรอง หอมหวล และ สนธิชัย จันทร์เปรม. 2557. การขยายพันธุ์สิงหโมราโดยใช้เทคนิคเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ, หน้า 446-453. ใน การประชุมทางวิชาการ ครั้งที่ 52. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ. |
สุลักษณ์ แจ่มจำรัส, สนธิชัย จันทร์เปรม, รงรอง หอมหวล, มณฑา วงศ์มณีโรจน์, และ รัตนา เอการัมย์. 2555. การใช้สารไคโตซานร่วมกับสารควบคุมการเจริญเติบโต เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อข้าวหอมมะลิ 105, หน้า 309-310. ใน การประชุมวิชาการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ครั้งที่ 9. 6-7 ธันวาคม 2555. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน, จ. นครปฐม. |
สุลักษณ์ แจ่มจำรัส, มณฑา วงศ์มณีโรจน์, รงรอง หอมหวล, ณัฐวัฒน์ คลังทรัพย์ และ สุรัตน์วดี จิวะจินดา. 2553. การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อเร่วหอม, หน้า 425-426. ใน การประชุมวิชาการมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ครั้งที่ 7. 7-8 ธันวาคม 2553. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน, จ. นครปฐม. |
บทความทางวิชาการ |
มณฑา วงศ์มณีโรจน์. 2559. การผลิตกล้วยให้ผลผลิตมีคุณภาพ. วารสารเกษตรอภิรมย์ 2(11):28-29. |
มณฑา วงศ์มณีโรจน์, ศิริวรรณ บุรีคำ, รงรอง หอมหวล, รุ่งทิพย์ กาวิตา และ สุลักษณ์ แจ่มจำรัส. 2554. การเก็บรักษาตาข้างหน่อไม้ฝรั่งในสภาพเย็นยิ่งยวดโดยวิธี encapsulation dehydration. วารสารข่าวศูนย์ปฏิบัติการวิจัยและเรือนปลูกพืชทดลอง 25(1): 1-7. |
สุลักษณ์ แจ่มจำรัส, รงรอง หอมหวล, มณฑา วงศ์มณีโรจน์ และ สนธิชัย จันทร์เปรม. 2558. มารู้จักสมุนไพรหายาก : สิงหโมรา. วารสารเกษตรอภิรมย์. 1(7): 15-16. |
เอกสารประกอบการฝึกอบรม |
หน่วยเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช. 2559. เทคนิคการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืชขั้นพื้นฐาน. เอกสารประกอบการฝึกอบรมหลักสูตร “การขยายพันธุ์ไม้ดอกไม้ประดับด้วยเทคนิคการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ”. รุ่นที่ 44. 15- 18 พฤศจิกายน 2559. ศูนย์ปฏิบัติการวิจัยและเรือนปลูกพืชทดลอง ศูนย์วิจัยและบริการวิชาการ คณะเกษตร กำแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน จ.นครปฐม. |
อัตราค่าบริการ
ชนิดของบริการ |
อัตราค่าบริการ/ตัวอย่าง |
- ค่าทดลองสูตรอาหารเริ่มแรกของพืชที่มาขอใช้บริการ |
1,000 บาท |
- เมื่อได้ต้นแล้วจะคิดค่าบริการแล้วแต่ชนิดของพืช ขึ้นอยู่กับความยากง่าย อัตราการเจริญเติบโต และจำนวนต้นพืชที่ต้องการ |
โดยเฉลี่ยต้นละ 8 - 20 บาท (ยกเว้นกล้วยไม้ ราคาของต้นกล้าตั้งแต่ 2 - 8 บาท ขึ้นอยู่กับจำนวนที่สั่ง) |
|