ศูนย์ปฏิบัติการวิจัยและเรือนปลูกพืชทดลอง
Central Laboratory and Greenhouse Complex
บริการวิชาการ
ผลิตภัณฑ์จากงานวิจัย
โปสเตอร์งานวิจัย
หน่วยอนุรักษ์และพัฒนาทรัพยากรชีวภาพ
(Bioresources Conservation and Development Unit)

right arrow งานวิจัย: ดำเนินงานวิจัยในสาขาที่เกี่ยวข้องกับทรัพยากรชีวภาพและวิทยาศาสตร์การเกษตร เพื่อการพัฒนาสายพันธุ์พืชที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจด้วยการประยุกต์ใช้วิธีการทางเทคโนโลยีชีวภาพ เซลล์พันธุศาสตร์ และการศึกษาโครงสร้างภายในระดับเซลล์และเนื้อเยื่อพืช

right arrow งานบริการวิชาการ: ให้บริการทางวิชาการด้านงานวิจัย วิทยานิพนธ์ ปัญหาพิเศษ และอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง ให้แก่นักเรียน นิสิต นักศึกษา อาจารย์ นักวิจัย และบุคคลทั่วไปจากหน่วยงานทั้งภายในและภายนอกมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ในรูปแบบต่างๆ ดังนี้
  1.  บริการเตรียมตัวอย่างสำหรับตรวจวิเคราะห์ด้วยกล้องจุลทรรศน์และกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอน
  • บริการเตรียมตัวอย่างสำหรับตรวจวิเคราะห์ด้วยกล้องจุลทรรศน์ชนิด Light microscope ด้วยเทคนิค Semi-thin section และเทคนิคพาราฟิน (Paraffin section technique)
  • บริการเตรียมตัวอย่างสำหรับตรวจวิเคราะห์ด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนชนิดลำแสงส่องทะลุผ่าน (Transmission Electron Microscope; TEM) ด้วยเทคนิค Ultrathin section และเทคนิค Dip preparation
  • บริการเตรียมตัวอย่างสำหรับตรวจวิเคราะห์ด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนชนิดลำแสงส่องกราด (Scanning Electron Microscope; SEM)
    หน่วยอนุรักษ์และพัฒนาทรัพยากรชีวภาพ
  2.  บริการเครื่องมือวิทยาศาสตร์และห้องปฏิบัติการ ได้แก่
  • กล้องจุลทรรศน์ชนิด Light microscope /Phase contrast microscope /Dark-field microscope พร้อมชุดถ่ายภาพด้วยระบบดิจิตอล กล้องสเตอริโอ เครื่อง Ultramicrotome เครื่อง Microtome เครื่องทำตัวอย่างให้แห้ง ณ จุดวิกฤต (Critical Point Dryer; CPD) และเครื่องฉาบผิวตัวอย่างด้วยโลหะหนัก (Sputter Coater) เป็นต้น
    หน่วยอนุรักษ์และพัฒนาทรัพยากรชีวภาพ
right arrow งานสนับสนุนการเรียนการสอน: สนับสนุนการเรียนการสอนในรายวิชาที่เกี่ยวข้องกับงานด้านกล้องจุลทรรศน์และจุลทรรศน์อิเล็กตรอนให้กับคณาจารย์และนิสิตจากคณะต่างๆ ของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน และวิทยาเขตกำแพงแสน ได้แก่
    - 02031412  วิชาไฟโตพลาสมาสาเหตุโรคพืช คณะเกษตร กำแพงแสน
- 02031411  วิชา Bacterial Diseases of Plants คณะเกษตร กำแพงแสน
- 02031491  วิชาเทคนิควิจัยด้านโรคพืช คณะเกษตร กำแพงแสน
- 02031492  วิชาเทคนิคการวิจัยทางโรคพืช คณะเกษตร กำแพงแสน
- 02031441  วิชาไวรัสวิทยาเบื้องต้นของพืช คณะเกษตร กำแพงแสน
- 02738471  วิชาการถ่ายภาพทางวิทยาศาสตร์ชีวภาพ คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์
- 02738472  วิชาการใช้เครื่องมือทางวิทยาศาสตร์ชีวภาพ คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์
- 01419591  วิชาระเบียบวิจัยทางจุลชีววิทยา คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์
- 01504521  วิชาพยาธิวิทยาชั้นสูงทางสัตวแพทยศาสตร์  คณะสัตวแพทยศาสตร์
- 01504523  วิชาเทคนิคทางพยาธิคลินิกทางสัตวแพทย์  คณะสัตวแพทยศาสตร์
- 01600486  วิชาการถ่ายภาพทางการแพทย์ คณะเทคนิคการสัตวแพทย์
    หน่วยอนุรักษ์และพัฒนาทรัพยากรชีวภาพหน่วยอนุรักษ์และพัฒนาทรัพยากรชีวภาพ
    หน่วยอนุรักษ์และพัฒนาทรัพยากรชีวภาพหน่วยอนุรักษ์และพัฒนาทรัพยากรชีวภาพ
    การเรียนการสอนภาคปฏิบัติการภายในห้องปฏิบัติการกล้องจุลทรรศน์และกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอน

right arrow งานฝึกอบรม/ถ่ายทอดเทคโนโลยี:
  1) โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง "หลักการและเทคนิคการใช้เครื่องสเปกโตรมิเตอร์เอกซเรย์ฟลูออเรสเซนต์รับไมโคร (Micro-XRF) และ "นวัตกรรมและเทคโนโลยีของเครื่องมือพิสูจน์เอกลักษณ์สารประกอบและวัสดุด้วยเทคนิค FT IR Spectrometer" วันที่ 29 - 30 กันยายน พ.ศ. 2563 โดยความร่วมมือกับบริษัทแอบโซเทค จำกัด ผู้เข้าอบรมจากหน่วยงานภาครัฐและเอกชน จำนวน 41 คน
  2) วิทยากรร่วม ใน โครงการฝึกอบรมโครงการส่งเสริมการใช้เครื่องจักรกลทางการเกษตร หลักสูตรหลักสูตรระบบควบคุมในโรงเรือน จัดโดยคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน วันที่ 17 กันยายน พ.ศ. 2563 จำนวนผู้เข้าอบรม 50 คน
  3) โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง "เทคนิคการศึกษาโครโมโซมพืช" วันที่ 4 ตุลาคม พ.ศ. 2562 ผู้เข้าอบรมจำนวน 10 คน (นิสิต และบุคลากรมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์)
  4) เรื่อง “การสร้างพืชดับเบิลแฮพลอยด์” โดย อัญชลี รวีโรจน์วิบูลย์ ใน โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยี การสร้างพืช Double Haploid และ การใช้ Flow Cytometer เพื่อตรวจหาจำนวนชุดโครโมโซม วันที่ 1 กรกฎาคม 2559 จัดโดย โครงการความร่วมมือการพัฒนาหลักสูตรเทคโนโลยีเพื่ออนาคต สาขานวัตกรรมเพื่อการเกษตร ด้านการปรับปรุงพันธุ์พืชและการผลิตเมล็ดพันธุ์พืช (BReeDServe), สถาบันวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีชั้นสูง (THAIST) สำนักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติ (สวทน.) ร่วมมือกับ ศูนย์เทคโนโลยีชีวภาพเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน
  5) โครงการพัฒนาวิชาการเพื่อถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่ภาคเอกชนให้กับเจ้าหน้าที่ของ บริษัท โคลส (ประเทศไทย) จำกัด ซึ่งเป็นบริษัทผลิตเมล็ดพันธุ์พืชในเครือบริษัท Vilmorin & Cie ประเทศฝรั่งเศส เรื่อง “การฝึกอบรมการชักนำต้นแฮพลอยด์และดับเบิลแฮพลอยด์ของแตงกวาลูกผสมด้วยวิธีการเพาะเลี้ยงรังไข่" ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 16 สิงหาคม 2553 - 16 สิงหาคม 2554
  6) โครงการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง “การสร้างสายพันธุ์ดับเบิลแฮพลอยด์ของแตงกวาและพริกโดยวิธีการทางเทคโนโลยีชีวภาพ” โดยความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และ ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ  สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ผู้เข้ารับการอบรม จำนวน 30 คน จากทั้งภาครัฐและภาคเอกชน (ข้าราชการในมหาวิทยาลัย พนักงาน สวทช. นักศึกษา และเจ้าหน้าที่ของบริษัทผลิตเมล็ดพันธุ์พืช) ระหว่างวันที่ 17-19 มีนาคม 2553
  7) โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง "Atomic Force Microscope ในงานวิจัยระดับนาโน" โดยความร่วมมือกับบริษัทโคแอกซ์ กรุ๊ป คอร์ปอเรชั่น จำกัด วันที่ 1 กันยายน 2552 ผู้เข้าอบรมจากหน่วยงานภาครัฐและเอกชน จำนวน 38 คน

บุคลากร
อัญชลี รวีโรจน์วิบูลย์ นางอัญชลี  รวีโรจน์วิบูลย์  (Mrs. Anchalee Raweerotwiboon)
ประวัติการศึกษา: วท.บ. (เทคโนโลยีการผลิตพืช) เกียรตินิยมอันดับหนึ่ง สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
วท.ม. (เกษตรศาสตร์) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ปร.ด. (เทคโนโลยีชีวภาพเกษตร) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ตำแหน่ง: นักวิจัยชำนาญการพิเศษ
งานวิจัยที่สนใจ: Agricultural biotechnology for plant breeding
Production of double haploid plants: anther culture and ovary culture
E-mail: rdianr@ku.ac.th

ปุณยวีร์ เดชครอง นางสาวปุณยวีร์  เดชครอง  (Ms. Punyavee Degkrong)
ประวัติการศึกษา: วท.บ. (เกษตรศาสตร์) เกียรตินิยมอันดับสอง สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
วท.ม. (เกษตรศาสตร์) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
Ph.D. (Agricultural and Environmental Biology) The University of Tokyo, Japan
ตำแหน่ง: นักวิจัยชำนาญการ
งานวิจัยที่สนใจ: เซลล์พันธุศาสตร์และการศึกษาโครงสร้างภายในระดับเซลล์และเนื้อเยื่อพืช
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีชีวภาพในการปรับปรุงพันธุ์พืช
E-mail: rdipvd@ku.ac.th

ยุพิน ศรีหิรัญต์ นางยุพิน  ศรีหิรัญต์  (Mrs. Yuphin Srihiran)
ตำแหน่ง: พนักงานห้องปฏิบัติการ
สาขาที่เชี่ยวชาญ: ล้าง-อัดขยายภาพ และเทคนิคการถ่ายภาพ
การใช้และดูแลรักษากล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบลำแสงส่องทะลุผ่าน (TEM)
การเตรียมตัวอย่างเพื่อศึกษาด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบ Dip preparation
E-mail: rdiyps@ku.ac.th

อภินันท์ สนอ่อง นางอภินันท์  สนอ่อง  (Mrs. Apinan Sonong)
ตำแหน่ง: พนักงานห้องปฏิบัติการ
สาขาที่เชี่ยวชาญ: การเตรียมตัวอย่างเพื่อศึกษาด้วยกล้องจุลทรรศน์แบบใช้แสง และกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนทั้งแบบ TEM และ SEM
เครื่องมือวิทยาศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับการเตรียมตัวอย่าง เช่น ultra-microtome, ion sputter, critical point dryer และ vacuum evaporator เป็นต้น
E-mail: rdiapn@ku.ac.th

ผลงานวิชาการปัจจุบันย้อนหลังถึงปี พ.ศ. 2549
write a noteผลงานวิจัยตีพิมพ์ในวารสาร
อัญชลี รวีโรจน์วิบูลย์ และจุลภาค คุ้นวงศ์.  2558.  การสร้างพริกดับเบิลแฮพลอยด์ที่มียีนต้านทานโรคแอนแทรคโนสด้วยวิธีการเพาะเลี้ยงอับละอองเกสร.  ข่าวสารเทคโนโลยีชีวภาพเกษตร  7(3): 4-9.  ศูนย์ความเป็นเลิศด้านเทคโนโลยีชีวภาพเกษตร สำนักพัฒนาบัณฑิตศึกษา และวิจัยด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา.
Laphatphakkhanut, R., Puttrawutichai, S., Dechkrong, P., Preuksakarn, C., Wichaidist, B., Vongphet, J., Suksaroj, C.  2021.  IoT-based smart crop-field monitoring of rice cultivation system for irrigation control and its effect on water footprint mitigation.  Paddy Water Environ.
Dechkrong, P, Srima S, Nilwaranon T, Tongyoo P, et al. Morphological Characterization of Anther and Pollen Formation in an EMS Induced Tomato Mutant with Blossom Drop Phenotype.  Plant Biol Crop Res. 2020; 1: 1030.
Dechkrong, P., T. Yoshikawa, J. Itoh.  2015.  Morphological and molecular dissection of leaf development in wild-type and various morphogenetic mutants in rice.  American Journal of Plant Science  6(8): 1215-1232.
Dechkrong P., S. Jiwajinda , P. Dokchan, M. Kongtungmon, N. Chomsaeng, T. Chairuangsri, C. Yu, C. Hsiao and M. Shiojiri.  2011.  Fine structure of wing scales of butterflies, Euploea mulciber and Troides aeacusJournal of Structural Biology  176: 75-82.
Mika, F., J. Mat?jkov?-Pl?kov?, S. Jiwajinda, P. Dechkrong and M. Shiojiri.  2012.  Review: Photonic crystal structure and coloration of wing scales of butterflies exhibiting selective wavelength iridescence.  Materials  5(5): 754-771.
Punyavee Dechkrong, Tanee Sreewongchaib, Yupadee Paopun, Prapa Sripichitt, Fisseha Woreded. Cytological observation of anther development in cytoplasmic male sterility and thermossensitive genic male sterility systems of rice.  Agr.Nat.Resour. 53 (2019) 114-119.
Raweerotwiboon, A., P. Meekul and J. Chunwongse.  2014.  Anther culture of peppers from inter-specific backcross (C. annuum x C. baccatum) carrying anthracnose resistance.  Khon Kaen Agr. J.  42(3)(Suppl.): 802-807.
Raweerotwiboon, A., P. Meekul and J. Chunwongse.  2014.  Induction of double haploid lines from inter-specific backcross between CA758 and BC2F3758x80C5(1) by anther culture.  Khon Kaen Agr. J.  42(3)(Suppl.): 808-814.
Raweerotwiboon, A. and J. Chunwongse.  2007.  Screening of nptII in Transgenic ‘Seedathip3’ Tomato by Spraying with Kanamycin Solution.  Agricultural Science Journal  38(1): 15-24.
Raweerotwiboon, A., S. Chanprame and J. Chunwongse.  2007.  Agrobacterium-mediated Transformation of Large DNA Fragments Derived from ‘L3708’ Tomato to ‘Seedathip 3’ Tomato.  Agricultural Science Journal  38(1): 83-94.
Raweerotwiboon, A., S. Chanprame and J. Chunwongse.  2006.  Genetic Transformation of Large-DNA Fragments of Tomato ‘L3708’ to ‘Seedathip3’ via Agrobacterium tumefaciensAgricultural Science Journal  37(6)(Suppl): 205-209.
Raweerotwiboon, A. and J. Chunwongse.  2006.  Selection of nptII Gene in Transgenic ‘Seedathip3’ Tomato by Spraying with Kanamycin Solution.  Agricultural Science Journal  37(6)(Suppl): 405-409.

write a noteผลงานวิจัยตีพิมพ์ในเอกสารประชุมวิชาการ
ประดับพันธ์ เจริญการ ทรงศักดิ์ ภัทราวุฒิชัย ปุณยวีร์ เดชครอง และจักกริช พฤษการ.  การประยุกต์ใช้ระบบชลประทานสมัยใหม่ร่วมกับอินเตอร์เน็ตของสรรพสิ่งเพื่อการผลิตข้าว ใน วารสารการประชุมวิชาการด้านการชลประทานและการระบายน้ำแห่งชาติ ครั้งที่ 12 วันที่ 31 กรกฎาคม 2562.
อติชาต วิจฝัน ทรงศักดิ์ ภัทราวุฒิชัย จุติเทพ วงษ์เพ็ชร์ ปุณยวีร์ เดชครอง จักกริช พฤษการ และ ชัยศรี สุขสาโรจน์.  การประเมินประสิทธิภาพเชิงนิเวศเศรษฐกิจของข้าวปทุมธานี 1 ในเขตพื้นที่อำเภอแม่ลาว จังหวัดเชียงราย ใน การประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 16 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน วันที่ 3 - 4 ธันวาคม 2562.
Dechkrong P., S. Jiwajinda  and A. Sripichitt.  2012.  Changing of ultrastructure and oil content of soybean seeds after storage,  In The 29th Annual Conference of The Microscopy Society of Thailand.  Jan. 30 – Feb. 1, 2012.  Cha-am, Petchburi, Thailand.
Dechkrong P., S. Jiwajinda, P. Dokchan, M. Kongtungmon, N. Chomsaeng, T. Chairuangsri, C. Yu, C. Hsiao and M. Shiojiri.  2011.  Photonic crystal structure of wing scales in Thai butterflies, Euploea mulciber and Troides aeacus (II).  In The 28th Annual Conference of The Microscopy Society of Thailand.  Jan. 5-7, 2011.  Chiang Rai, Thailand.
Dechkrong P., N. Chomsaeng, M. Kongtungmon P. Dokchan, S. Jiwajinda, S. Saepaisal, T. Chairuangsri and M. Shiojiri.  2010.  Photonic crystal structure of wing scales in Thai butterflies, Euploea mulciber and Troides aeacusIn The 27th Annual Conference of The Microscopy Society of Thailand.  Jan. 20-22, 2010.  Samui, Suratthani, Thailand.
Mat?jkov?-Pl?kov?, J., P. Dechkrong and M. Shiojiri.  2011.  Structure and colouration of wing scales of some butterflies.  In The 28th Annual Conference of The Microscopy Society of Thailand. Jan. 5-7, 2011.  Chiang Rai, Thailand.
Mat?jkov?-Pl?kov?, J., P. Dechkrong, M.J. Chen and M. Shiojiri.  2010.  Fine structure of some photonic crystals and photoelectric devices- butterfly scales and ZnO ultra-violet light emitting diodes, plenary lecture.  In The 27th Annual Conference of The Microscopy Society of Thailand.  Jan. 20-22, 2010.  Samui, Suratthani, Thailand.
P. Dechkrong, T. Sreewongchai, Prapa Sripichitt.  2019.  The anther development in rice thermo-sensitive genic male sterile (TGMS) line (KUT1 line). In The 36th International Conference of the Microscopy Society of Thailand (MST36). March 26 - 29, 2019. Rama Gardens Hotel Bangkok, Bangkok, Thailand.
Punyavee Dechkrong, Thanankorn Jaiphong, Siriphan Sukkhaeng, Songsak Puttrawutichai, Tiwa Pakoktom.  2018.  Comparison of root anatomical trait between traditional upland and lowland rice varieties in Thailand. In The 35th International Conference of the Microscopy Society of Thailand (MST35). Jan. 29 - Feb. 2, 2018. Imperial Mae Ping Hotel, Chaing Mai, Thailand.
Punyavee Dechkrong, Jun-Ichi Itoh.  2016.  A novel mutant affecting rice leaf morphology during developmental process. In The 11th Asia-Pacific Microscopy Conference (APMC 11). May 23-27, 2016. Phuket Graceland Resort and Spa, Patong, Phuket, Thailand.
Raweerotwiboon, A., P. Meekul and J. Chunwongse.  2013.  Anther culture of pepper (Capsicum annuum L.) for disease resistance breeding and gene mapping, p. 52.  In The 12th National Horticultural Congress 2011.  May 9-12, 2013.  Bangkok International Trade & Exhibition Centre, Thailand.
Raweerotwiboon, A., P. Meekul and J. Chunwongse.  2011.  Regeneration of double haploid lines in F1 hybrid pepper (CA500xCA2106) through anther culture, p. 127.  In The 5th Botanical Conference of Thailand.  Mar. 30 – Apr. 1, 2011.  Kasetsart University, Bangkok, Thailand.
Raweerotwiboon, A., S. Boonprecha, S. Suwanprasert and J. Chunwongse.  2011.  Oryzalin treatment of haploid cucumber lines for chromosome doubling.  p. 128.  In The 5th Botanical Conference of Thailand.  March 30 - April 1, 2011.  Kasetsart University, Bangkok, Thailand.
Raweerotwiboon, A., P. Meekul and J. Chunwongse.  2011.  Production of haploid and double haploid plants from anther culture of F1 hybrid pepper (CA500xCA2106), p. 130.  In The 10th National Horticultural Congress 2011.  May 18-20, 2011.  Miracle Grand Convention Hotel, Bangkok, Thailand.
Raweerotwiboon, A., O. Hungyotha and J. Chunwongse.  2009.  Regeneration of haploid and double haploid plants by pollination with irradiated pollen and ovary culture of hybrid cucumber (Cucumis sativus L.), p. 155.  In The 8th National Horticultural Congress 2009.  May 6-9, 2009.  Maejo University, Chaing Mai, Thailand.
Raweerotwiboon, A., P. Meekul, C. Chunwongse and J. Chunwongse.  2008.  Study of microspores developmental stages in cucumber (Cucumis sativus L.) line ‘Amata’ for anther culture, p. 240.  In The 7th National Horticultural Congress 2008.  May 26-30, 2008.  Naresuan University, Phitsanulok, Thailand.

write a noteเอกสารประกอบการฝึกอบรม
ปุณยวีร์ เดชครอง.  2563.  การผสมเกสรเพื่อการปรับปรุงพันธุ์ ใน เอกสารประกอบการเรียนการสอนในโครงการก้าวแรกสู่การวิจัยทางวิทยาศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาชั้นปีที่ 4/5-6 โรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน (โครงการ วมว.). 15 ก.พ. 2563. ศูนย์ปฏิบัติการวิจัยและเรือนปลูกพืชทดลอง ศูนย์วิจัยและบริการวิชาการ คณะเกษตร กำแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน จ. นครปฐม.
ปุณยวีร์ เดชครอง.  2559.  มองผ่านเลนส์และการใช้ประโยชน์จากกล้องจุลทรรศน์ ใน เอกสารประกอบโครงการพัฒนาทักษะปฏิบัติการพื้นฐานวิทยาศาสตร์. 6 ส.ค. 2559. ศูนย์ปฏิบัติการวิจัยและเรือนปลูกพืชทดลอง ศูนย์วิจัยและบริการวิชาการ คณะเกษตร กำแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน จ. นครปฐม.
ปุณยวีร์ เดชครอง และอัญชลี รวีโรจน์วิบูลย์.  2558.  กล้องจุลทรรศน์และกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอน, น. 1-6. ใน เอกสารประกอบโครงการเสริมสร้างทักษะทางวิทยาศาสตร์. 27 พ.ย. 2558. ศูนย์ปฏิบัติการวิจัยและเรือนปลูกพืชทดลอง ศูนย์วิจัยและบริการวิชาการ คณะเกษตร กำแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน จ. นครปฐม.
ปุณยวีร์ เดชครอง อัญชลี รวีโรจน์วิบูลย์ ยุพิน ศรีหิรัญต์ อภินันท์ สนอ่อง สมบูรณ์ บุญปรีชา และจรูญ บุญวงษ์.  2558.  การเตรียมตัวอย่างเพื่อศึกษาด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนชนิดลำแสงส่องทะลุผ่าน, น. 14-18. ใน เอกสารประกอบโครงการเสริมสร้างทักษะทางวิทยาศาสตร์ ศูนย์ปฏิบัติการวิจัยและเรือนปลูกพืชทดลอง ศูนย์วิจัยและบริการวิชาการ คณะเกษตร กำแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จ. นครปฐม.
อัญชลี รวีโรจน์วิบูลย์ ปุณยวีร์ เดชครอง ยุพิน ศรีหิรัญต์ อภินันท์ สนอ่อง สมบูรณ์ บุญปรีชา และจรูญ บุญวงษ์.  2558.  กล้องจุลทรรศน์และการใช้กล้องจุลทรรศน์เพื่อประมาณขนาดของวัตถุ, น. 7-13. ใน เอกสารประกอบโครงการเสริมสร้างทักษะทางวิทยาศาสตร์ ศูนย์ปฏิบัติการวิจัยและเรือนปลูกพืชทดลอง ศูนย์วิจัยและบริการวิชาการ คณะเกษตร กำแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ นครปฐม.
อัญชลี รวีโรจน์วิบูลย์.  2553.  การผลิตพืชสายพันธุ์แท้จากกระบวนการ Gynogenesis ขั้นตอนและวิธีการที่เกี่ยวข้อง, หน้า16-28.  ใน เอกสารประกอบการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การสร้างสายพันธุ์ดับเบิลแฮพลอยด์ของแตงกวาและพริกโดยวิธีการทางเทคโนโลยีชีวภาพ.  17-19 มีนาคม 2553.  ฝ่ายปฏิบัติการวิจัยและเรือนปลูกพืชทดลอง, สถาบันวิจัยและพัฒนา กำแพงแสน, และ ศูนย์เทคโนโลยีชีวภาพเกษตร, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน, จ. นครปฐม.
อัญชลี รวีโรจน์วิบูลย์.  2553.  การเพาะเลี้ยงรังไข่ของแตงกวา, หน้า 47-56.  ใน เอกสารประกอบการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การสร้างสายพันธุ์ดับเบิลแฮพลอยด์ของแตงกวาและพริกโดยวิธีการทางเทคโนโลยีชีวภาพ.  17-19 มีนาคม 2553.  ฝ่ายปฏิบัติการวิจัยและเรือนปลูกพืชทดลอง, สถาบันวิจัยและพัฒนา กำแพงแสน, และ ศูนย์เทคโนโลยีชีวภาพเกษตร, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน, จ. นครปฐม.

write a noteการถ่ายทอดผลงานวิจัยผ่านสื่อสาธารณะ
อัญชลี รวีโรจน์วิบูลย์.  2554.  การพัฒนาแตงกวาให้ต้านทานโรคราน้ำค้างด้วยเทคโนโลยีดีเอ็นเอ.  รายการข่าวภาคเที่ยง ช่วงเกษตรวันนี้.  สถานีโทรทัศน์ช่อง 7 สี.  4 พฤษภาคม 2554.  https://youtu.be/lozBe0LaydU
จุลภาค คุ้นวงศ์ และ อัญชลี รวีโรจน์วิบูลย์.  2553.  วิจัย “ดีเอ็นเอ” แตงกวา มก..พัฒนา..ต้านราน้ำค้าง.  คอลัมน์ วิทยาการ-เกษตร.  หนังสือพิมพ์ไทยรัฐ  ปีที่ 62 ฉบับที่ 19333.  27 ธันวาคม 2553.


ดาวน์โหลด
  13 18  ใบรับตัวอย่าง หน่วยอนุรักษ์และพัฒนาทรัพยากรชีวภาพ
  13 18  อัตราค่าบริการ