ศูนย์ปฏิบัติการวิจัยและเรือนปลูกพืชทดลอง
Central Laboratory and Greenhouse Complex
หน้าแรก
ข้อมูลทั่วไป
ประวัติ
โครงสร้างการบริหาร
ผู้บริหาร
บุคลากร
วีดิทัศน์แนะนำศูนย์ฯ
หน่วยงาน
หน่วยบริหารและธุรการ
หน่วยวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อมและเทคโนโลยี
หน่วยการใช้ประโยชน์จากผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ
หน่วยจุลชีววิทยาประยุกต์
หน่วยวิเคราะห์ วิจัยพฤกษเคมี
หน่วยอนุรักษ์และพัฒนาทรัพยากรชีวภาพ
หน่วยวิจัยโรคพืชและศาสตร์สัมพันธ์
หน่วยทรัพยากรชีวภาพด้านแมลง
หน่วยวิเคราะห์ วิจัยดิน พืช และวัสดุเกษตร
หน่วยเทคโนโลยีเมล็ดพันธุ์และปรับปรุงพันธุ์พืช
หน่วยเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช
หน่วยอนุรักษ์และใช้ประโยชน์พืชพรรณ
หน่วยพัฒนาอุปกรณ์และอาคารสถานที่
งานวิจัย
งานวิจัยศูนย์ปฏิบัติการวิจัย
รางวัล
โปสเตอร์งานวิจัย
ข้อมูลการตีพิมพ์วารสาร
จรรยาวิชาชีพวิจัยและแนวทางปฏิบัติ
ทรัพยากรพืชพรรณฯ
สมุนไพร
ไม้หอมเดิม
ไม้หอมใหม่
นานาสาระไม้หอม
ไม้ดอกไม้ประดับ
ไม้ผล
วัชพืช
วีดิทัศน์แนะนำพันธุ์ไม้
ต้นไม้ทรงปลูก
วารสารข่าวศูนย์ฯ
ดาวน์โหลด
ติดต่อเรา
งานวิจัย
งานวิจัยศูนย์ปฏิบัติการวิจัยฯ
รางวัล
โปสเตอร์งานวิจัย
ข้อมูลการตีพิมพ์วารสาร
จรรยาวิชาชีพวิจัย/แนวทางปฏิบัติ
พิธีลงนามอนุญาตให้ใช้สิทธิผลงานวิจัย เรื่อง กรรมวิธีการผลิตผงมะพร้าวน้ำหอม
ผลของ Soil Mate ต่อการเจริญเติบโตและการดูดซึมธาตุอาหารของพริก
ผู้วิจัย
เนตรชนก เกียรติ์นนทพัทธ์ ลักขณา เบ็ญจวรรณ์ และชวนพิศ อรุณรังสิกุล
ศูนย์ปฏิบัติการวิจัยและเรือนปลูกพืชทดลอง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน จ. นครปฐม
บทคัดย่อ
ศึกษาอัตราส่วนที่เหมาะสมของ Soil Mate ต่อการเจริญเติบโต และการดูดซึมธาตุอาหารของพริก แบ่งการทดลองออกเป็น 5 กรรมวิธี คือ กรรมวิธีที่ 1 (T-1 ชุดควบคุม ให้น้ำอย่างเดียว) กรรมวิธีที่ 2 (T-2 ใช้ Soil Mate เข้มข้น) กรรมวิธีที่ 3 (T-3 ใช้ Soil Mate เจือจาง 1:10) กรรมวิธีที่ 4 (T-4 ใช้ Soil Mate เจือจาง 1:30) และกรรมวิธีที่ 5 (T-5 ใช้ Soil Mate เจือจาง 1:60) ทำการทดลองกรรมวิธีละ 3 ซ้ำ วางแผนการทดลองเป็นแบบสุ่มสมบูรณ์ ผลการทดลองพบว่า พริกใน T-3 ซึ่งใช้ Soil Mate เจือจาง 1:10 มีค่าเฉลี่ยสูงสุดในด้านความสูงของต้น จำนวนใบต่อต้นในทุกระยะการเจริญเติบโต เช่นเดียวกับความยาวราก และความสูงของลำต้น เมื่อสิ้นสุดการทดลอง ผลการวิเคราะห์ทางสถิติพบว่า มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทุกลักษณะที่ศึกษา ยกเว้น ความสูงของต้นและจำนวนใบต่อต้นที่อายุ 1 สัปดาห์ ไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ ผลการวิเคราะห์ธาตุอาหารที่สะสมอยู่ในลำต้นของพริก ได้แก่ ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียม พบว่ากรรมวิธีการใช้ Soil Mate เจือจาง 1:10 ตรวจพบการสะสมธาตุอาหารดังกล่าวในปริมาณที่สูงสุด
การนำเสนอผลงาน
ภาคโปสเตอร์
การประชุมวิชาการและเสนอผลงานวิจัยพืชเขตร้อนและกึ่งร้อน ครั้งที่ 5
ระหว่างวันที่ 21-22 กรกฎาคม 2554 ณ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย กรุงเทพฯ
รางวัล
รางวัลดีเยี่ยม ผลงานภาคโปสเตอร์ ด้านการผลิตพืช (ผักและพืชอื่นๆ)
ดาวน์โหลด
โปสเตอร์งานวิจัยนี้
หน้าแรก
|
งานวิจัย
Top