ศูนย์ปฏิบัติการวิจัยและเรือนปลูกพืชทดลอง
Central Laboratory and Greenhouse Complex
หน้าแรก
ข้อมูลทั่วไป
ประวัติ
โครงสร้างการบริหาร
ผู้บริหาร
บุคลากร
วีดิทัศน์แนะนำศูนย์ฯ
หน่วยงาน
หน่วยบริหารและธุรการ
หน่วยวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อมและเทคโนโลยี
หน่วยการใช้ประโยชน์จากผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ
หน่วยจุลชีววิทยาประยุกต์
หน่วยวิเคราะห์ วิจัยพฤกษเคมี
หน่วยอนุรักษ์และพัฒนาทรัพยากรชีวภาพ
หน่วยวิจัยโรคพืชและศาสตร์สัมพันธ์
หน่วยทรัพยากรชีวภาพด้านแมลง
หน่วยวิเคราะห์ วิจัยดิน พืช และวัสดุเกษตร
หน่วยเทคโนโลยีเมล็ดพันธุ์และปรับปรุงพันธุ์พืช
หน่วยเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช
หน่วยอนุรักษ์และใช้ประโยชน์พืชพรรณ
หน่วยพัฒนาอุปกรณ์และอาคารสถานที่
งานวิจัย
งานวิจัยศูนย์ปฏิบัติการวิจัย
รางวัล
โปสเตอร์งานวิจัย
ข้อมูลการตีพิมพ์วารสาร
จรรยาวิชาชีพวิจัยและแนวทางปฏิบัติ
ทรัพยากรพืชพรรณฯ
สมุนไพร
ไม้หอมเดิม
ไม้หอมใหม่
นานาสาระไม้หอม
ไม้ดอกไม้ประดับ
ไม้ผล
วัชพืช
วีดิทัศน์แนะนำพันธุ์ไม้
ต้นไม้ทรงปลูก
วารสารข่าวศูนย์ฯ
ดาวน์โหลด
ติดต่อเรา
ผลิตภัณฑ์จากงานวิจัย
เครื่องกลั่นน้ำมันหอมระเหย
เครื่องกลผลิตปุ๋ยหมัก 3 โมเดล
ต้นกล้าจากการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ
เลือดจระเข้แคปซูล ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร
ผ้าเช็ดหน้าอินทรีย์
เครื่องกลผลิตปุ๋ยหมัก 3 โมเดล เติมอากาศปุ๋ยด้วยระบบมือหมุน ปั่นจักรยาน และมอเตอร์ไฟฟ้า
ดร. ลักขณา เบ็ญจรรณ์
นักวิจัยชำนาญการ
หน่วยวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อมและเทคโนโลยี ศูนย์ปฏิบัติการวิจัยและเรือนปลูกพืชทดลอง
คณะเกษตร กำแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน จ. นครปฐม
โทร. 034-351-399 ต่อ 432 หรือ 081-398-7095
สำหรับคนทำปุ๋ยหมักคงเป็นที่ทราบกันดีว่า การระบายความร้อนแก่กองปุ๋ยโดยการกลับกองนั้นเป็นสิ่งจำเป็น ไม่เช่นนั้นกองปุ๋ยก็จะร้อนเกินไป จนไม่เอื้อต่อการทำงานของจุลินทรีย์ ทำให้ได้ปุ๋ยหมักช้าลง ถ้าปุ๋ยหมักกองใหญ่จำต้องมีแรงงานมาก หากใช้ระบบเติมอากาศจากพัดลมโบรเวอร์ ต้องลงทุนสูง แต่สำหรับการผลิตปุ๋ยปริมาณน้อยแบบครัวเรือนแล้วง่ายกว่านั้นมาก เพราะเราสามารถใช้มือคลุก ใช้พลั่วกลับกอง หรือแม้แต่เทสลับไปมาในภาชนะที่หมักเพื่อให้สัมผัสอากาศได้อย่างง่ายดาย แต่ถ้าหากปริมาณวัตถุดิบมากขึ้นอย่างครอบครัวใหญ่ องค์กร หรือโรงเรียน เครื่องทุ่นแรงในการเติมอากาศที่ต้นทุนไม่สูงมากย่อมเป็นอุปกรณ์เสริมในการผลิตที่ดี
เพื่อสนับสนุนต่อการผลิตปุ๋ยหมักระดับครัวเรือน สอดรับกระแสการทำเกษตรในเมืองที่มีการนำเศษอาหารมาผลิตปุ๋ยหมักกันมากขึ้น ดร. ลักขณา เบ็ญจรรณ์ จึงได้พัฒนาเครื่องผลิตปุ๋ยหมักระดับครัวเรือนขึ้นมา ซึ่งสอดคล้องกับแนวคิดพอเพียงอย่างรูปแบบ
"เครื่องผลิตปุ๋ยหมักมือหมุน"
และ "
จักรยานผลิตปุ๋ยหมัก"
และรูปแบบที่ใช้มอเตอร์ไฟฟ้าเพื่อความรวดเร็วอย่าง
"เครื่องผลิตปุ๋ยหมักอัตโนมัติ"
เป็นทางเลือกที่น่าสนใจสำหรับครัวเรือนที่นิยมนำเศษอาหารเหลือทิ้งมาแปรรูปเป็นปุ๋ย เพื่อลดสิ่งปฏิกูลและใช้เป็นปัจจัยการผลิตในการเกษตรที่ไม่ต้องซื้อหาได้อย่างเป็นประโยชน์ ...
อ่านต่อ
Top